ความมั่งคั่งของกษัตริย์
นิตยสารฟอร์บส์สำรวจความร่ำรวยของบรรดากษัตริย์ทั้งหลาย ผลปรากฏ ดังนี้
1. Sultan Haji Hassanal Bolkiah. Sultan/Brunei ($22 billion)
2. Sheikh Khalifa Bin Zayed Al Nahyan. President/United Arab Emirates ($21 billion)
3. King Abdullah Bin Abdulaziz. King/Saudi Arabia ($19 billion)
4. Sheikh Mohammed Bin Rashid Al Maktoum. Ruler/Dubai ($16 billion)
5. King Bhumibol Adulyadej. King/Thailand ($5 billion)
6. Prince Hans-Adam II von und zu Liechtenstein. Prince/Liechtenstein ($4.5 billion)
7. King Mohammed IV. King/Morocco ($2 billion)
8. Prince Albert II. Prince/Monaco ($1.2 billion)
9. Sheikh Hamad Bin Khalifa Al Thani. Emir/Qatar ($1 billion)
10. Prince Karim Al Husseini. Aga Khan ($1 billion)
11. Queen Elizabeth II. Queen/U.K. ($600 million)
12. Sheikh Sabah Al Sabah. Emir/Kuwait ($500 million)
13. Sultan Qaboos Bin Said. Sultan/Oman ($500 million)
14. Queen Beatrix Wilhelmina Armgard. Queen/Netherlands ($300 million)
15. King Mswati II. King/Swaziland ($200 million)
.........
มีข้อสังเกตเพิ่มเติม ดังนี้
๑. สี่อันดับแรก เป็นกษัตริย์ในประเทศแหล่งน้ำมัน และใช้การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิ์
๒. หากนับเฉพาะประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตย กษัตริย์ไทยมาอันดับ ๑
๓. ทั้ง ๑๕ อันดับ มีจากยุโรป ๔ ประเทศ คือ ลิคเตนสไตน์ โมนาโก สหราชอาณาจักร และเนเธอร์แลนด์ โดยสองประเทศแรก ไม่อาจนับได้ว่าเป็นประชาธิปไตยโดยแท้ เพราะกษัตริย์ยังมีอำนาจทางการเมืองในบางกรณี
๔. กษัตริย์ที่ติดอันดับส่วนใหญ่มาจากดินแดนเศรษฐีน้ำมัน ได้แก่ บรูไน สหรัฐอาหรับเอมิเรสต์ ซาอุดิอาระเบีย นครดูไบ กาตาร์ คูเวต โอมาน
.........
อ่านรายละเอียดรายงานของฟอร์บส์ได้ที่
http://www.forbes.com/2007/08/30/worlds-richest-royals-biz-royals07-cx_lk_0830royalintro.html
ในส่วนของกษัตริย์ไทย
http://www.forbes.com/2007/08/30/worlds-richest-royals-biz-royals07-cx_lk_0830royalintro_slide_6.html?thisSpeed=15000
1. Sultan Haji Hassanal Bolkiah. Sultan/Brunei ($22 billion)
2. Sheikh Khalifa Bin Zayed Al Nahyan. President/United Arab Emirates ($21 billion)
3. King Abdullah Bin Abdulaziz. King/Saudi Arabia ($19 billion)
4. Sheikh Mohammed Bin Rashid Al Maktoum. Ruler/Dubai ($16 billion)
5. King Bhumibol Adulyadej. King/Thailand ($5 billion)
6. Prince Hans-Adam II von und zu Liechtenstein. Prince/Liechtenstein ($4.5 billion)
7. King Mohammed IV. King/Morocco ($2 billion)
8. Prince Albert II. Prince/Monaco ($1.2 billion)
9. Sheikh Hamad Bin Khalifa Al Thani. Emir/Qatar ($1 billion)
10. Prince Karim Al Husseini. Aga Khan ($1 billion)
11. Queen Elizabeth II. Queen/U.K. ($600 million)
12. Sheikh Sabah Al Sabah. Emir/Kuwait ($500 million)
13. Sultan Qaboos Bin Said. Sultan/Oman ($500 million)
14. Queen Beatrix Wilhelmina Armgard. Queen/Netherlands ($300 million)
15. King Mswati II. King/Swaziland ($200 million)
.........
มีข้อสังเกตเพิ่มเติม ดังนี้
๑. สี่อันดับแรก เป็นกษัตริย์ในประเทศแหล่งน้ำมัน และใช้การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิ์
๒. หากนับเฉพาะประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตย กษัตริย์ไทยมาอันดับ ๑
๓. ทั้ง ๑๕ อันดับ มีจากยุโรป ๔ ประเทศ คือ ลิคเตนสไตน์ โมนาโก สหราชอาณาจักร และเนเธอร์แลนด์ โดยสองประเทศแรก ไม่อาจนับได้ว่าเป็นประชาธิปไตยโดยแท้ เพราะกษัตริย์ยังมีอำนาจทางการเมืองในบางกรณี
๔. กษัตริย์ที่ติดอันดับส่วนใหญ่มาจากดินแดนเศรษฐีน้ำมัน ได้แก่ บรูไน สหรัฐอาหรับเอมิเรสต์ ซาอุดิอาระเบีย นครดูไบ กาตาร์ คูเวต โอมาน
.........
อ่านรายละเอียดรายงานของฟอร์บส์ได้ที่
http://www.forbes.com/2007/08/30/worlds-richest-royals-biz-royals07-cx_lk_0830royalintro.html
ในส่วนของกษัตริย์ไทย
http://www.forbes.com/2007/08/30/worlds-richest-royals-biz-royals07-cx_lk_0830royalintro_slide_6.html?thisSpeed=15000